
นิตยสารสารคดี
ปีที่ ๓๓ ฉบับที่ ๓๘๗ พฤษภาคม ๒๕๖๐
ภาพปก : ประเวช ตันตราภิรมย์
บทความที่ลงในเว็บไซต์
- เรื่องเด่นประจำสารคดีฉบับที่ 387
เรื่องเด่นในฉบับ
- บ้านเรียน โลกกว้างกว่าห้องเรียน
- แซนโฎนตา ช่วงเวลาคนตายสอนคนเป็น
- สัมภาษณ์ ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล “เมื่อการศึกษาติดกับดักการแข่งขัน”
- Foto Essay เกาะ Olkhon ความงามแห่งทะเลสาป Bailkal
- แถมฟรีพร้อม Vamoose ฉบับที่ 15 – India
คอลัมน์
- ในแสงสลัวราง – รอย
- วาดเมือง – แปดริ้ว
- เรื่องเด่นประจำฉบับ
- จากบรรณาธิการ – นิด ๆ หน่อย ๆ
- มิตรจากเมล
- Oh ! seed – พะยอม
- green spreads
- Holistic – ทิชชูเปียก สะอาดแค่จุดเดียวครั้งเดียว
- Change from Under – โทรเชต์ Trochet
- ศัพท์ซอยวิทย์ – Disruptive Technology
- One Ton – “เราคือเมล็ดพันธุ์ เหยียบให้จมดินแล้วเราจะงอกขึ้นมาใหม่”
- ภาพยนตร์ – Dearest Sister และ Diamond Island หนังอาเซียนจากคนหนุ่มสาว
- จอมYouth – สรวิชญ์ : Data Scientist ในยุคเหมืองทองของข้อมูล
- จู๋จิ๋มปาก ดากนิ้วมือ – เรคตี กวีรักระหว่างสตรี
- ล้งเล้ง – เปิด-ปิดเทอมตามอาเซียน
- ข่าวบุคคล – มิตรแท้ผู้ทุกข์ทน หนึ่งศตวรรษ ฉลบชลัยย์ พลางกูร ๒๔๕๙-๒๕๖๐
- มรดกตกทอด – ภูมิสถาปัตยกรรมในงานพระเมรุมาศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
- Asean Beyond – “ไม่มีใครให้เสรีภาพเราได้นอกจากตัวเราเอง” บทสรุปจากสนามข่าวของ “ฟั่มลานเฟือง”
- Histo “เลี่ยน” – “คดีฉ้อโกง” ในตำนาน
- คิดถึงเขาไหม – “ระดับการบริโภคความแปลกของคนมีแต่สูงขึ้น” ตามไปดูหมอซ้ง
- ปะทะ – “พ.ร.บ. คุมสื่อ” จุดจบเสรีภาพสื่อไทย ?
- Gag
สัมภาษณ์
- ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล – “เมื่อการศึกษาติดกับดักการแข่งขัน”
FOTO ESSAY
- Foto Essay เกาะ Olkhon ความงามแห่งทะเลสาป Bailkal
- สมาชิกอุปถัมภ์
- ข่าวธุรกิจ-ผลิตภัณฑ์
- เฮโลสาระพา
- TAM:DA – สวน…โคม !
- HIM – อวกาศกับจินตนาการ
- Hidden (in) Museum – เรือนเล็กเล่าเรื่องโลกล้านนา
- ท้ายครัว – (เพราะ) ปั่นขึ้นเขาใหญ่ จึงได้เก็บ “ของกิน”
วิชาสารคดี ๑๐๑ ศาสตร์ ศิลป์ เคล็ดวิธี ว่าด้วยการเขียนสารคดี เรื่อง : วีระศักดิ์ จันทร์ส่งแสง ภาพโดย ประเวช ตันตราภิรมย์ สารคดีเรื่อง “Home school

บ้านเรียน โลกกว้างกว่าห้องเรียน การปฏิเสธโรงเรียนออกมาจัดการศึกษาให้ลูกเองที่บ้านเกิดขึ้นเงียบ ๆ มาหลายสิบปีแล้ว แต่ในยุคแรกยังติดขัดข้อกฎหมายการศึกษาภาคบังคับ กระทั่งเมื่อมีการปฏิรูปการศึกษาในปี ๒๕๔๒ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติเปิดช่องให้พ่อแม่จัดการศึกษาให้ลูกหลานได้เองโดยชอบธรรม โรงเรียนแบบทำเองที่บ้านหรือโฮมสกูลจึงเริ่มแพร่หลายขึ้นตั้งแต่ในเมืองไปจนถึงในท้องถิ่นทั่วประเทศ สารคดีหยิบนำเรื่องราวของบางบ้านเรียนมาเปิดให้เห็นโลกของโฮมสกูลในเมืองไทยโดยสังเขป พอให้รู้ว่ายังมีทางเลือกอีกสายอยู่ในแวดวงการศึกษาของบ้านเรา ห้องเรียนที่เปิดกว้าง หลากหลาย ไม่มีกรอบเกณฑ์ตายตัว แต่วัดประเมินผลได้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ห้องเรียนนอกระบบโรงเรียนที่เรียกกันว่าโฮมสกูลหรือบ้านเรียน แซนโฎนตา ช่วงเวลาคนตายสอนคนเป็น สองปีแล้วที่เดือนสิบเป็นฤดูกาลสำคัญให้ต้องจดลงปฏิทินว่า “กลับบ้าน” ทั้งบ้านของเพื่อนในกัมพูชา และเพื่อนไทยเชื้อสายคแมร์ที่อีสานใต้บ้านเรา บ้านของพวกเขามีประเพณีหนึ่งที่เคร่งครัดว่าลูกหลานในตระกูลต้องพร้อมหน้าใน ๑ วันสำคัญเพื่อร่วม “กอบบุญ” และ “กราบบรรพชน” แสดงความกตัญญู ตามคติว่าในรอบปีวิญญาณบรรพบุรุษในยมโลกจะได้รับการปลดปล่อยให้กลับโลกมนุษย์มารับส่วนบุญกุศลจากลูกหลาน เข้าใจอย่างง่าย คล้ายประเพณีที่คนไทยภาคกลางเรียก “วันสารท” ภาคเหนือเรียก “บุญสลากภัต” (หรือตานก๋วยสลาก) ภาคอีสานเรียกบุญมหาชาติ (หรือบุญผะเหวด) และภาคใต้เรียก “บุญเดือนสิบ” (หรือบุญชิงเปรต) สำหรับลูกหลานชาวคแมร์พวกเขาเรียก “แซนโฎนตา”
Teaser - โรงเรียนขาเทียม ห้องเรียนชีวิตของนักสร้างอวัยวะ นักกายอุปกรณ์ (นักสร้างอวัยวะเทียม) ทราบดีว่ากว่าจะเป็นขาเทียมสักข้างหนึ่ง มิใช่สักแต่สร้าง หากต้องอาศัยศาสตร์หลายแขนง อาทิ กายวิภาคศาสตร์ ชีวกลศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ฯลฯ
Share On