สารคดี ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๑๙๕ เดือน พฤษภาคม ๒๕๔๔ "พี่น้องมุสลิม กับ นกเงือก แห่งเทือกเขาบูโด"
หน้าปกสารคดี ปีที่ ๑๗ ฉบับที่ ๑๙๕ เดือน พฤษภาคม ๒๕๔๔
นิตยสารสารคดี Feature Magazine
นิตยสารสำหรับครอบครัว
www.sarakadee.com
ISSN 0857-1538
  ฉบับที่ ๑๙๕ เดือน พฤษภาคม ๒๕๔๔
ส า ร บั ญ
โลกใบใหญ่
โลกใบเล็ก
ปังตอรักษาโรค
ปังตอรักษาโรค
คอมพิวเตอร์ม้วนได้
คอมพิวเตอร์ม้วนได้
การสำรวจ
 มุมตกสำรวจของ "ลิเจีย" ในสายตานักสำรวจถ้ำ
อาหารและสุขภาพ
ชุดตรวจสารพิษในผักผลไม้ ความปลอดภัยเพื่อผู้บริโภค
๑๐ อันดับ
สะกิดตา-สะกิดใจ
แวดวงนักวิจัยไทย
ได้เวลาสำรวจ ไกแม่น้ำโขง,
พัฒนาแอลกอฮอล์ สวนจิตร ผลิตเครื่องสำอาง
เกร็ดข่าว
ย้ายห้องสมุด จากท่าพระจันทร์ ไปรังสิต สนองนโยบายใคร ในธรรมศาสตร์
คนไทยค้นพบ
(คลิกดูภาพใหญ่)
กระเช้าหนู
คนไทยค้นพบ
(คลิกดูภาพใหญ่)
ปลาปากเปี่ยน ตาดำ
ที่นี่มีอะไร
หนังสือบนแผง
โลกบันเทิง
คนกับหนังสือ
ผ้าทอง กับหลากพื้นที่ ทางสังคม ของผู้หญิง
ภาพยนตร์
Krippendorf's Tribe ความรู้นั้นดีอยู่ แต่ "ตัวกู" ต้องเป็นใหญ่
โลกธรรมชาติและวิทยาการ
ส่องจักรวาล
ส่องดวงอาทิตย์
โลกธรรมชาติ
ดายัก มาดูรีส และชิมแปนซี
โลกวิทยาการ
ข้าว อาหารแห่งอารยะ
คอลัมน์ประจำ - ปกิณกะ
เชิญดอกไม้
คลิกอ่านต่อ
ดอกรักเร่
เรื่องจากปก
เรื่องเด่นในฉบับ
สารคดีพิเศษ
Special Attractions
จากบรรณาธิการ
โลกรายเดือน
บ้านพิพิธภัณฑ์
คลิกอ่านต่อ
แผ่นภาพ ก ไก่ พ.ศ. ๒๔๙๙
เพื่อความเข้าใจ ในแผ่นดิน
นักวิจัยแก้วิกฤต โอ่งราชบุรี เน้นเทคนิคใหม่ เพิ่มรูปแบบ
บันทึกนักเดินทาง
(คลิกดูภาพใหญ่)
ใบไม้สีทอง และผีเสื้อร่อนลม แห่งเทือกเขาบูโด
เขียนถึงสารคดี
Feature@ Sarakadee.com
สัมภาษณ์
(คลิกดูภาพใหญ่)
เดินป่าหมื่นกิโลเมตร เพื่อนกเงือก ดร. พิไล พูลสวัสดิ์
สยามร่วมสมัย
บางลำภู-ประตูใหม่
คิดสร้างต่างสรรค์
แนวคิดสกุล "สตรีนิยม" (Feminism)
ข้างครัว
ญี่ปุ่นกินปลา
บทความพิเศษ
คลิกอ่านต่อ
คึกฤทธิ์ พบเหมาเจ๋อตุง
เสียงจากอุษาคเนย์
บทเพลงแห่งรัฐฉาน การประกาศตัวตน ของคนไทยใหญ่
ซองคำถาม
ศิลปะ
(คลิกดูภาพใหญ่)
ฮุนเดิร์ทวาสเชอร์
จิตรกรสมัยใหม่ ของออสเตรีย
เฮโลสาระพา
เที่ยวทั่วไทยไปกับ "นายรอบรู้"
เที่ยวทั่วไทยไปกับ นายรอบรู้
เรื่องจากปก
(คลิกดูภาพใหญ่)
ภาพปก : ปณต ไกรโรจนานันท์
พี่น้องมุสลิมกับนกเงือกแห่งเทือกเขาบูโด

       นับตั้งแต่ปี ๒๕๓๗ เป็นต้นมา โครงการศึกษานิเวศวิทยา ของนกเงือก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ทำการศึกษาวิจัยชีวิตนกเงือก ในบริเวณเทือกเขาบูโด ในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ได้พบนกเงือก ที่เดิมคาดว่าสูญพันธุ์ไปแล้วจากเมืองไทย คือ นกเงือกหัวแรด นอกจากนี้ยังพบนกเงือกที่สำคัญอีกหลายชนิด อาทิ นกชนหิน นกเงือกหัวหงอก
       คณะวิจัยพบว่า นกเงือกในป่าบริเวณเทือกเขาบูโดกำลังถูกคุกคาม ทั้งจากกรณีป่า ซึ่งเป็นแหล่งอาศัย และทำรังถูกลักลอบตัดไม้ และชาวบ้านในพื้นที่ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นมุสลิมฐานะยากจน นิยมจับลูกนกเงือกไปขาย เป็นผลให้จำนวนนกเงือกในป่าลดลงทุกปี
       โครงการศึกษานิเวศวิทยาของนกเงือก แก้ปัญหาดังกล่าวด้วยการ ขอร้องให้ชาวบ้านเลิกจับลูกนกเงือก และชักชวนให้ชาวบ้านมาเป็นผู้ช่วยนักวิจัย ร่วมมือกันตั้งหมู่บ้านอนุรักษ์นกเงือก ในขณะเดียวกัน ก็หาทางให้ชาวบ้านมีรายได้เสริม เพื่อพวกเขาจะไม่ต้องหวนกลับไปขโมย ลูกนกเงือกจากรังอีก
สารคดีพิเศษ
(คลิกดูภาพใหญ่) พี่น้องมุสลิมกับนกเงือกแห่งเทือกเขาบูโด

       คนจำนวนมากอาจไม่เคยได้ยินชื่อ เทือกเขาบูโด แต่ถ้าถามคนทางแถบชายแดนภาคใต้ ทุกคนจะรู้ว่า ในอดีตบูโดเป็นดินแดนต้องห้าม ด้วยเป็นพื้นที่ยึดครองของผู้ก่อการร้ายพูโล หรือบีอาร์เอ็น ทหารและตำรวจไทยจำนวนมาก เคยพลีชีพบนเทือกเขาแห่งนี้มาแล้ว
       ลึกขึ้นไปบนเทือกบูโด มีเสียงเล่าลือมานานว่ามีนกใหญ่อาศัยอยู่ จนกระทั่งปี ๒๕๓๗ นักวิจัยจึงเดินทางเข้าไปในป่าดังกล่าว และค้นพบนกเงือกหัวแรด--นกที่เคยเชื่อกันว่า สูญพันธุ์ไปจากเมืองไทยแล้ว นอกจากนี้ยังพบนกหายากอีกหลายชนิด เช่น นกเงือกหัวหงอก นกชนหิน ฯลฯ
       อย่างไรก็ตาม ปัญหาที่เกิดตามมา คือ ชาวบ้านซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนมุสลิม นิยมขโมยลูกนกเงือกไปขาย ให้แก่นักเลี้ยงนก ที่รับซื้อในราคาแพง จนทำให้นกเงือกในป่าลดจำนวนลงมาก
       แต่ท้ายที่สุด ชาวบ้านแห่งบูโดก็ร่วมใจกัน ไม่ขโมยลูกนกเงือกอีกต่อไป แล้วหันมาเป็นนักอนุรักษ์ ด้วยหัวจิตหัวใจที่รักนกเงือกอย่างเปี่ยมล้น

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้


(คลิกดูภาพใหญ่) ตลาดนัดเทพเจ้า

       เล่ากันว่า สมัยที่ก่อสร้างโรงแรมเอราวัณใหม่ ๆ เกิดอุปสรรคมากมาย กับโรงแรมแห่งนี้ ภายหลังตรวจพบว่านาม "เอราวัณ" เป็นช้างทรง ของเทพเจ้าบนสรวงสวรรค์ จึงต้องสร้างศาลพระพรหมไว้บูชา เป็นการล้างอาถรรพ์ นับจากนั้น ศาลพระพรหมก็อยู่คู่สี่แยกราชประสงค์ มีคนมากราบไหว้บูชามิได้ขาด ทั้งชาวไทยชาวเทศ
       ในกาลต่อมา ปรากฏว่าบริเวณสี่แยกราชประสงค์ ซึ่งเป็นย่านธุรกิจ อันคึกคักที่สุดแห่งหนึ่งของกรุงเทพฯ ก็รายล้อมไปด้วย "รูปเคารพ" ภายใต้ฉายาของเทพเจ้าต่าง ๆ ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ทั้งพระพรหม พระวิษณุ พระลักษมี พระอินทร์ องค์ตรีมูรติ พระพิฆเณศวร ตั้งเป็นเทวสถาน ศาล หรือกระทั่งยืนตระหง่าน อยู่หน้าบริษัทธุรกิจอย่างโดดเด่น อลังการ จนราวกับว่า เทพเจ้าทั้งหลาย ได้พากันเดินพาเหรดจากอินเดีย มายึดหัวหาดประเทศไทย เป็นที่ตั้งตำหนักไปแล้วก็ไม่ปาน !
       ลัทธิบูชาเทพเจ้าแขกในเมืองไทย มีกำเนิดและวิวัฒนาการมาอย่างไร ความเชื่อ ความศรัทธา เหล่านี้ยังประโยชน์อย่างไรแก่เราบ้าง ค้นหาคำตอบได้ ในสารคดีพิเศษเรื่องนี้

อ่านต่อคลิกที่นี้อ่านต่อคลิกที่นี้


Special Attractions
"Sarakadee" Vol. 17 No. 195  May 2001 Cover: The Male Rhinoceros Hornbill is the one tasked with scavenging for food to give the female hornbill, who builds a nest and busies herself with preparations for the arrival of their young during mating season (Budo Mountain Range, Narathiwat Province).
Vol. 17 No. 195 May 2001
(Bigger) The Muslim and Hornbill Community of the Budo Mountain Range

       Some ten years ago, the strategically situated Budo Mountain Range, connecting the provinces of Pattani, Yala and Narathiwat, was a safe haven for various dissatisfied groups such as the Pulo Movement and the BRN who aimed to secede and realize independence for Thailand's four southernmost predominantly Muslim provinces, not to mention thieves and common criminals hiding from the police. Today, the mountains house many flourishing local Thai Muslim communities as well as Thailand's prided population of hornbills. No longer is the mountain range a feared and politically-charged, highly sensitive dwelling, as it is now home to a community that is striving towards continued economic viability, playing a major role in preserving Thailand's - our country's - natural resources.

Click Here to Continue Continue: click here


(Bigger) Ratchaprasong Intersection: A Gathering of the Gods

       The Ratchaprasong intersection is situated within one of Bangkok's thriving business hubs. Besides the police hospital in one corner, the area bustles with some of the city's finest hotels, department stores and shopping centers. The commercial success witnessed here is widely attributed not only to business acumen or the strong performance of the country's economy over the past half century, but interestingly enough, to the fortune and good luck bestowed upon the site as a result of the construction of shrines (located in the different corners of the intersection) in honor of Brahman-Hindu Gods. In this edition of Sarakadee, we bring you arguably the most locally venerated Brahman God, or Than Tao Mahaprom in Thai.

Click Here to Continue Continue: click here


(Bigger) Friedensrich Hundertwasser: Kingdom of Peace

    Besides such modern Austrian artists such as Gustav Klimt (1862 - 1918) and Egon Schiele (1890 - 1918), Friedensrich Hundertwasser is the only other Austrian to have reached fame and fortune, gaining recognition for his innovative artwork. Born Friedrich Stowasser on December 15th 1928 in Vienna, Austria, Hundertwasser entered the art world upon enrolling in the Montessori School in Vienna in 1936, and continuing later on in 1948 at the Vienna Academy of Fine Art. Since his early schooling days, Hundertwasser has taken the art world by storm, distinguishing himself in water colors, the use of mixed media, his application of art to architecture, and most importantly, his characteristic "spiral" design. Widely traveled, Hundertwasser has exhibited his creations in 15 countries around the world, showcasing his happy and peaceful interpretation of our modern world.


เ ฮ โ ล ส า ร ะ พ า
เพื่อนหมู เหมือนกันยังกับแกะ

"เพื่อนหมูฯ"

ซ อ ง คำ ถ า ม
นาฬิกาที่เที่ยงตรงที่สุดในโลก
นั่งเครื่องบินแล้วตาย !
ทำไมพระสังกัจจายน์จึงอ้วน
ทำไมจึงเรียก เย็นตาโฟ
เคี้ยวก่อนกลืน
ทารกมีกระดูกมากกว่าผู้ใหญ่จริงหรือ ?