นิตยสาร สารคดี ฉบับที่ 479 กุมภาพันธ์ 2568

นิตยสาร สารคดี ฉบับที่ 479 กุมภาพันธ์ 2568
ปลาไทยใกล้สูญพันธุ์-สูญพันธุ์แล้ว
ภาพปก
ผู้วาดภาพ : ประสพ ตีระนันท์ (หลวงมัศยจิตรการ, ปี ๒๔๓๙-๒๕๐๘) และ ศ. โชติ สุวัตถิ (ปี ๒๔๔๗-๒๕๓๔)
ประสพ ตีระนันท์ เป็นนายช่างเขียนภาพในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ วาดภาพปลาด้วยลายเส้นหมึกดำและสีน้ำ บันทึกรูปร่างลักษณะลงรายละเอียดเหมือนจริงมากที่สุด ต่อมา ศ. โชติ สุวัตถิ ซึ่งรับราชการในตำแหน่งช่างเขียน กองบำรุงและรักษา กระทรวงเกษตราธิการ ได้เข้ามาทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยวาดภาพปลาด้วย ในช่วงระหว่างปี ๒๔๖๗-๒๔๗๕ คาดว่าทั้งสองคนร่วมกันวาดภาพปลาไว้จำนวนมากกว่า ๒๖๙ ภาพ ซึ่งต่อมาได้ใช้เป็นภาพประกอบในตำราและเอกสารหลายเล่ม มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการศึกษาอนุกรมวิธานและธรรมชาติวิทยาของไทย ปัจจุบันภาพต้นฉบับได้รับการเก็บรักษาไว้ที่กองวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เรื่องเด่นประจำฉบับ
- ปลาไทย “ใกล้สูญพันธุ์” กับ “สูญพันธุ์แล้ว”
- การเดินทาง กาลเวลา และปลาน้ำจืดไทย
- HIPPO ภัยคุกคามปลาทะเลไทย
- หลงลักษณ์ – พลังภาษาเจ้าชายน้อย
Column
- วาดเมือง – ห้วยทับเสลา
- สารคดีพิเศษ
- จากบรรณาธิการ – Adaptation
- คิด-cool : ดอกไม้เต้นรำ “ระหว่างขา”
- holistic – ปีใหม่ ปรับนาฬิกาชีวิตใหม่
- วิทย์คิดไม่ถึง – ยิ่งฉลาดก็ยิ่งซึมเศร้าง่าย ?
- ข่าวธุรกิจ-ผลิตภัณฑ์
- souvenir & history – “กระสวยอวกาศ” จาก “สมิทโซเนียน”
- หลงลักษณ์ – พลังภาษาเจ้าชายน้อย
- ท้ายครัว – จอผักกาดหิ่น รสชาติของ “ขั้นกว่า”
Scoop
- ปลาไทย “ใกล้สูญพันธุ์” กับ “สูญพันธุ์แล้ว”
- การเดินทาง กาลเวลา และปลาน้ำจืดไทย
- HIPPO ภัยคุกคามปลาทะเลไทย