Page 166 - Skd 381-2559-11
P. 166
การประมงแบบทำ� ลายลา้ ง ไมว่ า่ อวนรนุ อวนลาก สรา้ งความ ใหใ้ ชไ้ ดก้ บั อวนแคส่ ามชนดิ คอื อวนชอ้ น อวนครอบ อวนยก อา้ งวา่
เสียหายแคไ่ หน เม่ือก่อนปั่นไฟแล้วใช้อวนล้อมท�ำลายเยอะ กับเหตุผลว่าต้องเอา
ลูกปลากะตักมากินบ้าง แต่ในทางปฏิบัติไม่มีใครตามไปตรวจถึง
ในทางวิชาการค�ำว่าเคร่ืองมือท�ำลายล้างหมายถึงเคร่ืองมือท่ี ในทะเลว่าคุณช้อนหรือคุณครอบถูกต้อง เอาเข้าจริงคุณก็ยังล้อม
ท�ำลายพันธุ์สัตว์น�้ำเศรษฐกิจวัยอ่อน สัตว์เหล่านี้ถ้าปล่อยให้เติบโต เหมือนเดิม ฉะน้ันปัญหาน้ีก็ยังคาราคาซังมาจนปัจจุบัน ยกเว้น
ขน้ึ จะกลายเปน็ สตั วเ์ ศรษฐกจิ เชน่ กงุ้ แชบว๊ ยตวั เลก็ ๆ เมอ่ื โตจะเปน็ อวนรุนเพ่ิงยกเลิกไปเพราะถูกค�ำส่ังมาตรา ๔๔ ของรัฐบาล ท�ำให้
กงุ้ แชบว๊ ยกโิ ลกรมั ละ ๔๐๐-๕๐๐ บาท ถา้ เปน็ กงุ้ ตาแฉะกก็ ลายเปน็ การทำ� ประมงโดยใช้อวนรนุ เป็นสิง่ ผดิ กฎหมาย
กงุ้ แหง้ หรอื ปมู า้ ตวั เลก็ ๆ ปทู ะเล หรอื ปลาท ู ถา้ ยงั ตวั เลก็ ๆ เราเรยี ก คดิ อยา่ งไรกบั การใช้มาตรา ๔๔ ยกเลกิ อวนรนุ
รวมว่า “สัตว์น�้ำเศรษฐกิจวัยอ่อน” เคร่ืองมือนี้ท�ำลายพันธุ์สัตว์น�้ำ
เศรษฐกิจวัยอ่อนอย่างรุนแรง เราเรียกว่าเคร่ืองมือท�ำลายล้าง ซึ่งมี มาตรา ๔๔ มีสองด้าน บางคร้ังก็ไม่ละเอียดหลายเร่ือง
อยูส่ ามตัว คืออวนรนุ อวนลาก และเรือปนั่ ไฟ เครอื่ งมอื ทำ� ลายลา้ งทมี่ สี ามตวั คณุ ยกเลกิ แคห่ นงึ่ ตวั คอื อวนรนุ รวม
ถึงโพงพาง ไซตู้ ไซน่ัง ซ่ึงมันเล็กมาก ถ้าหากเทียบกับการท�ำลาย
มีงานวิจัยของกรมประมงมาตั้งแต่ก่อนปี ๒๕๒๓ แล้วว่าการ ของอวนลาก หมายความว่าคุณก�ำลังตีตัวเล็กสุด ถ้าเรียงล�ำดับ
ใช้อวนลากจับสัตว์น้�ำ ๑๐๐ กิโลกรัม ประมาณสองในสามหรือ ความรุนแรงจากมากที่สุด จะเป็นอวนลาก เรือปั่นไฟ อวนรุน คุณ
๖๖ กิโลกรัม คือพันธุ์สัตว์น้�ำเศรษฐกิจวัยอ่อน พวกลูกกุ้ง ลูกปู ออกมาตรการจัดการกับตวั ท่ีท�ำลายน้อยกวา่ ปลอ่ ยใหอ้ กี สองตัวยัง
ลูกหอย ลูกปลาตัวเล็ก ๆ อวนลากยังท�ำลายสัตว์หน้าดิน ท�ำลาย ลอยนวล หมายความว่าอะไร ประเด็นคือท�ำไมคุณไม่กล้าแตะ
ปะการังบนผิวดิน อวนรุนก็ไม่ต่างกัน ส่วนเรือปั่นไฟเขาจับสัตว์ท่ี อวนลากกับเรือปั่นไฟ ในเม่ืองานวิชาการระบุว่าอวนลากท�ำลาย
อาศัยอยู่กลางน�้ำหรือผิวน้�ำขนาดเล็ก ๆ ที่มาเล่นแสงไฟ เคร่ืองมือ ทรัพยากรมากท่ีสุด ท�ำไมไม่ใช้มาตรา ๔๔ จัดการกับอวนลากให้
ท้ังสามตัวน้ีท�ำให้เกิดวิกฤตทรัพยากรสัตว์นำ้� เกิดภาวะการจับปลา หยดุ ไปเลยแบบอนิ โดนเี ซีย
เกินขนาด คือจับเกินศักยภาพของทะเลหรือท่ีเรียกว่าโอเวอร์ฟิชชิง
(over fishing) มาตรา ๔๔ น�ำมาใช้เรื่องนี้ดี แต่คุณยังไม่สะเด็ดน้�ำ มีงูพิษ
สามตัว งูกะปะ งูเห่า งูจงอาง คุณตีตัวเดียวคืองูกะปะ ปล่อยให้
สมมติแต่ละปีเราจับปูม้าได ้ ๑๐๐ ตัน ซ่ึงตามธรรมชาติจะมี ตัวอืน่ กัดคนตายท�ำไม
ลูกปูม้าเกิดใหม่ แต่เราไปใช้เคร่ืองมือท�ำลายลูกปูม้า ปีต่อ ๆ ไป
แทนที่จะจับได้ ๑๐๐ ตัน ก็ลดเหลือ ๕๐ ตัน ๓๐ ตัน ๒๐ ตัน ผมตง้ั ขอ้ สงั เกตวา่ มนั ไปเกย่ี วขอ้ งกบั ธรุ กจิ ปลาปน่ ใชห่ รอื เปลา่
เพราะจับเกินขนาด เกินอ�ำนาจผลิตของทะเล ทั้งสามตัวจึงเป็น เก่ียวข้องกับบริษัทยักษ์ใหญ่ท่ีคุณไม่กล้าแตะต้อง เกี่ยวข้องกับ
เครื่องมือท�ำลายลา้ งทอ่ี ารยประเทศเขาไม่ใช้ นักการเมืองท้องถ่ินหรือกลมุ่ ทุนขนาดใหญ ่ เจา้ ของโรงงาน แพปลา
เจา้ ของรา้ นปลาปน่ ใช่หรอื เปลา่ น่คี ือคำ� ถาม
ผมยกตวั อยา่ งชว่ งป ี ๒๕๐๔ ตอนนน้ั บา้ นเรายงั มพี นั ธส์ุ ตั วน์ ำ�้ ทำ� ไมคณุ ถงึ เหน็ วา่ การใชอ้ วนลาก เรอื ปน่ั ไฟ เชอื่ มโยงกบั ธรุ กจิ
จ�ำนวนมาก ข้อมูลจากองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสห- ปลาปน่
ประชาชาติบอกว่าเราจับปลาในน่านน้�ำไทยได้ช่ัวโมงละ ๓๐๐
กิโลกรัม แต่ในปี ๒๕๕๔ เหลือเพียงช่ัวโมงละ ๒๕ กิโลกรัม หรือ คือท่ีสงขลามีโรงงานปลาป่นเยอะ เวลาเราไปดูที่ท่าเรือก็เห็น
๘ เปอร์เซ็นต์ของอัตราที่เคยทำ� ได้เท่านั้น ช้ีชัดว่าพันธุ์สัตว์นำ้� ถูกจับ วา่ เขาเอาลกู ปลาตวั เลก็ ๆ ไปขายโรงงานปลาปน่ ตามไปดทู โ่ี รงงาน
เกนิ ศักยภาพของทะเล ก็รู้ว่ามันคือโปรตีนที่ผสมในอาหารสัตว์ เอาไปผสมกับข้าวโพดคือ
เราทำ� การประมงแบบทำ� ลายลา้ งกนั มาต้งั แต่เม่อื ไร คารโ์ บไฮเดรต ใสว่ ติ ามนิ ยาปฏชิ วี นะ กลายเปน็ อาหารไกอ่ าหารหมู
ไม่ว่าจะเป็นยี่ห้อซีพี เบทาโกร ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ ซ่ึงเป็นธุรกิจ
ความเป็นมาของมันก็ต้ังแต่เรารับเอาเคร่ืองมืออวนลากจาก ใหญโ่ ตในประเทศน้ี
เยอรมนีมาลากแผ่นตะเฆ่ราว ๆ ปี ๒๕๐๔ แล้วก็พัฒนาไปตาม
ประสทิ ธภิ าพของเครอื่ งยนต ์ สว่ นเรอื ปน่ั ไฟเปน็ ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น เราเห็นเส้นทางของลูกปลาตัวเล็ก ๆ ที่ถูกจับจากเครื่องมือ
เม่ือก่อนเขาปั่นไฟเรือไดหมึก ด้านล่างเรือติดอวนล้อม เวลาชาว ท�ำลายล้างว่ามันถูกลากไปท่ีไหน จากท่าเรือเขาขนกันออกไปเป็น
ประมงออกทะเลจะใช้ไฟจากตะเกียงเจ้าพายุล่อหมึกมาเล่นแสงไฟ รถสบิ ลอ้ สมัยกอ่ นรถจะวง่ิ ผา่ นเมอื งกเ็ หม็นกนั ทงั้ เมือง ของเจา้ พอ่
ตอนหลังเปล่ียนมาใช้ไดนาโมปั่นไฟให้หลอดไฟกำ� ลังสูง ๆ การใช้ ท้ังนั้น ถึงโรงงานท�ำปลาป่นแล้วบริษัทอาหารสัตว์ก็มารับซื้อไป
แสงไฟทำ� ประมงกเ็ รมิ่ พัฒนามาตั้งแต่นัน้ อีกทอด
จนถึงปี ๒๕๒๓ นายแพทย์บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ เป็น อย่างไรก็ดีคุณต้องให้ความเป็นธรรมว่าปลาป่นมีสองแบบนะ
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดูแลกรมประมง คือ by catch และ by product ค�ำว่า by catch คือลูกปลา
มองเห็นปัญหา จึงออกประกาศกฎกระทรวงให้ยกเลิกเรือปั่นไฟ ตัวเล็ก ๆ ถูกจับมากับเรืออวนลาก อวนรุน ส่วน by product ต้อง
ชว่ งนนั้ เรอื ปน่ั ไฟกลายเปน็ เครอื่ งมอื ผดิ กฎหมาย แตต่ อนป ี ๒๕๓๙ อธิบายว่าประเทศไทยมีธุรกิจอาหารทะเลรายใหญ่ที่สุดและมีสาขา
เกิดการแก้ประกาศกฎกระทรวงให้กลับมาปั่นไฟได้อีก เล่ียงบาลีว่า
164 พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙