Page 164 - Skd 381-2559-11
P. 164

คร้ังหน่ึงผมไปท�ำงานอยู่แถบจะนะ  มีสามหมู่บ้านก็มีสาม                            UUnnFrIreliealsegphnguoidnalragltteedd
ท่าเรือ  ไม่มีบันทึกเลยว่าวันน้ีแต่ละคนจับปูม้าเท่าไร  ได้ปลาได้กุ้ง
เทา่ ไร  แตถ่ า้ เราไปสำ� รวจตามโรงแรมหรอื รา้ นอาหารซฟี ดู  เขาอยาก                        การท�ำประมง
ไดป้ ลาทม่ี าจากประมงพนื้ บา้ น เพราะวา่ สตั วน์ ำ�้ จากประมงพาณชิ ย์                       ท่ผี ิดกฎหมาย
มันบอบช�้ำจากอวนลาก  อวนรุน   ตามรีสอร์ต  ร้านอาหาร  พวกปู                                 ขาดการรายงาน
เปน็  ๆ ปลาเปน็  ๆ คนขายอยากไดป้ ลาจากประมงพน้ื บา้ นนะ                                    และการควบคมุ

     ผมเคยท�ำวิจัยกับรีสอร์ตท่ีจังหวัดสตูล ภูเก็ต พ่อครัวบอกเลย
ว่าขอปลาจากแพปลาชุมชน   แล้วราคาปลาเบ็ดกับปลาอวนก็ต่าง
กัน   ปลาอินทรีท่ีติดอวนตายในทะเลมาแล้ว  ๓  ช่ัวโมงกับท่ีตกเบ็ด
ได้มาสด ๆ  นี่ราคาต่างกันสองเท่า   โรงแรมดัง ๆ  ในภูเก็ตถ้าเป็น
ปลาตกเทา่ ไรเอาหมดแลว้ ใหร้ าคาสูงด้วย

     ฉะนั้นมูลค่าของปลาขึ้นท่าชาวบ้านก็สูงเหมือนกันเพียงแต่
ไม่ได้จดบันทึก ถ้าบันทึกอาจสูสีกับประมงพาณิชย์  ดีไม่ดีสถิติของ
หมบู่ า้ นทงั้ หมดอาจมากกวา่ ดว้ ยซำ้�  เพราะวา่ จำ� นวนประมงพนื้ บา้ น
สูงถงึ  ๘๕ เปอร์เซน็ ต์

กรณีที่ประเทศไทยได้รับใบเหลืองจากสหภาพยุโรปตาม                                        ผมอยกู่ บั ชาวประมง
มาตรการ IUU fishing มีการบอยคอตอาหารทะเลจาก                                           มา ๓๐ กวา่ ป ี ใครบอกว่า
ประเทศไทยเม่อื กลางปที แ่ี ล้ว (๒๕๕๘) เรื่องเปน็ มาอย่างไร                            ประมงพาณชิ ยท์ ำ� รายได้
                                                                                      มากกวา่ ประมงพน้ื บา้ น 
     กอ่ นอน่ื ตอ้ งเขา้ ใจกอ่ นวา่  IUU fishing เกดิ จากความพยายาม                   ผมไมเ่ คยยอมรบั
อนุรักษ์และจัดการทรัพยากรส่ิงมีชีวิตในทะเลเพื่อให้เกิดการใช้
ประโยชน์อย่างย่ังยืนขององค์การอาหารและการเกษตรแห่งสห-
ประชาชาติ  (FAO  :  Food  and  Agriculture  Organization  of  the
United  Nations)   หลังวิเคราะห์แล้วว่าทะเลจะเป็นแหล่งอาหาร
ที่ส�ำคัญของมนุษยชาติในอนาคต  ต้องก�ำหนดแนวทางดูแลทะเล
ให้ประเทศสมาชิกน�ำไปปฏบิ ตั ิ

     กรณีประเทศไทย  สหภาพยุโรปเตือนเราว่าถ้าไม่จัดการแก้
ปัญหาตามมาตรการ  IUU  fishing  สินค้าประมงไทยที่มีมูลค่าปีละ
เกือบ  ๓  แสนล้านบาทจะห้ามเข้าตลาดยุโรป   รัฐบาลก็ต้องแก้
ปญั หาเพราะวา่ มนั สง่ ผลกระทบตอ่ รายไดข้ องธรุ กจิ ประมงขนาดใหญ่
ซึ่งตามสถิติแล้วความจริงสัตว์ขนาดใหญ่ที่จับได้มีสัดส่วนแค่
ประมาณ  ๓๓  เปอร์เซ็นต์  ท่ีเหลือเป็นพันธุ์สัตว์น้�ำเศรษฐกิจวัยอ่อน
สัตว์ที่ส่งออกส่วนใหญ่เป็นกุ้งกับปลาทูน่าและไม่ใช่ปลาจากทะเล
ไทย  เป็นปลาท่ีจับจากนอกน่านน้�ำไทย  เพียงแต่เจ้าของบริษัทเป็น
คนไทย  คนไทยก็ดีใจคิดว่าเราเป็นผู้ส่งออกอาหารทะเลของเรา ทั้ง
ที่ไม่ใช่ปลาจากอ่าวไทยหรืออันดามัน   นี่คืออีกจุดที่สังคมต้อง
ทำ� ความเขา้ ใจ ๙๐ เปอรเ์ ซน็ ตเ์ ปน็ ปลาจากทะเลลกึ นอกนา่ นนำ�้ ไทย
ดังน้ันการที่สหภาพยุโรปบอยคอต  คนที่เดือดร้อนมาก ๆ  คือบริษัท
ยกั ษใ์ หญท่ ส่ี ง่ ออกกงุ้ กบั ปลาทนู า่  ไมค่ อ่ ยเกย่ี วกบั กลมุ่ ประมงพนื้ บา้ น
สกั เท่าไร

162 พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙
   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169