Page 18 - SKD-V0402.indd
P. 18
O h ! s e e d
เรื่อง สุชาดา ลิมป์
ภาพ บันสิทธิ์ บุณยะรัตเวช
เมล็ด
เป็นรูปไข่ แบน สีน�้าตาลอ่อน
เปลือกหุ้มหนา แข็ง และเป็นมัน
มีขนอ่อนสีขาวปกคลุม
บานไม่รู้โรย ในเมล็ดมีน�้ามัน
(Gomphrena)
เ จ้าเมล็ดขนอุยที่เห็นคือสายพันธุ์
16 สตรอว์เบอร์รีเรด (Strawberry
Red) ให้ดอกสีแดงเข้ม ดอกเรียง
ยาว คล้ายผลสตรอว์เบอร์รีเมื่อสุกเต็มที่
ต่างจากสายพันธุ์ทั่วไปที่คุ้นตาใน
ไทยซึ่งโดยมากมีสามสี ได้แก่ พันธุ์ทอลล์
มิกซ์เจอร์ (Tall Mixture) มีทั้งสีขาวกับ
สีแดงอมม่วง หรือพันธุ์บัดดี้ (Buddy) ให้
ดอกสีแดงอมม่วง ส่วนสีชมพูสันนิษฐาน
ว่าเป็นลูกผสมระหว่างสีขาวกับสีแดง
อมม่วง
ธรรมชาติออกแบบมาให้เมล็ดมี
กระจุกขนสั้น ๆ บนเปลือก เพื่อให้สายลม
ช่วยพัดพาไปกระจายพันธุ์ได้ไกล
ซึ่งในบรรดาพืชดอกที่มีวิวัฒนาการ
ขยายพันธุ์ด้วยวิธีอื่น บานไม่รู้โรยยัง
เพาะง่ายแสนง่ายด้วยเมล็ด เพียงน�า
เมล็ดแช่น�้า ๓-๔ ชั่วโมงค่อยน�าไปปลูก
ไม่เกิน ๑๐ วันก็ได้เห็นต้นอ่อนงอกแล้ว
แม้ไม่ตั้งใจปลูก เมล็ดที่ร่วงหล่นตาม
ผืนดินก็ยังพร้อมเป็นต้นใหม่ได้เอง ศรับท์ โดยหมอบรัดเลย์ (แดน บีช หมายถึง “ดอกไม้อย่างหนึ่งบาน
น่าเชื่อว่าคนไทยรู้จักปลูกบานไม่รู้โรย บรัดเลย์) ที่พิมพ์ปี ๒๔๑๖ ซึ่งถือเป็น แล้วไม่โรยไม่เหี่ยวเลย ดอกไม้อย่าง
มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาแล้ว จาก พจนานุกรมไทย-ไทยเล่มแรกที่ปรากฏ อื่นบานแล้วโรยเหี่ยวแห้งไป”
หลักฐานต�ารายาพื้นบ้านของไทยหลาย สู่สาธารณชนชาวสยาม ก็มีค�าศัพท์
ต�ารับ รวมถึงในหนังสือ อักขราภิธาน- “บานมิรู้โรย”