Page 26 - SKD-V0402.indd
P. 26

วิทย์คิดไม่ถึง                                    ปรากฏการณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่พัวพันสังคม ชีวิต และจิตใจ ในแง่มุมใหม่ ๆ ที่คาดไม่ถึง
            ดร. น�าชัย ชีววิวรรธน์
          namchai4sci@gmail.com











                                             แสงเป็นได้ทั้งก้อนแสง

                                                   และคลื่นแสง
                                                    ขึ้นอยู่กับว่า

                                             จะน�าอุปกรณ์อะไรไปวัด





                                     อวตารแบบควอนตัม










   24



             คํ        าว่า “ควอนตัม (quantum    ไปไหนต่อไหนก็คล้าย ๆ กับระลอกคลื่น  เขาได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ใน



                       ถ้าเป็นพหูพจน์ใช้ ‘ควอนตา’
                                                                            ค.ศ. ๑๙๑๘
                                             ในทะเล เพียงแต่ไม่ต้องอาศัยตัวกลาง
                                                                               พลังค์ใช้ค�าว่า “ควอนตา” เรียกก้อน
                       quanta)” ค่อย ๆ คืบคลาน
                                                แต่เมื่อมาถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐
              ออกจากวงการวิทยาศาสตร์มาสู่ปาก   มีนักฟิสิกส์ที่ทั้งค�านวณและทดลอง   สสาร ไฟฟ้า แก๊ส และความร้อน... คือ
              ผู้คนทั่วไปมากขึ้นเรื่อย ๆ  บางท่านอาจ  เกี่ยวกับไฟฟ้าและความร้อนแล้วพบว่า  อะไรที่วัดสมบัติที่เป็นก้อน ๆ ไม่ต่อเนื่อง
              เคยได้ยินค�าว่า “ควอนตัมคอมพิวเตอร์”   แทนที่จะวัดค่าได้ต่อเนื่องแบบคลื่น แต่  ได้ส�าเร็จก็เรียกเป็นควอนตาทั้งหมด
              ที่เชื่อกันว่าจะช่วยให้คอมพิวเตอร์ค�านวณ  บางทีกลับวัดได้ค่าแน่นอนแค่บางค่า   ต่อมาฟิสิกส์ที่ใช้ศึกษาสิ่งที่เป็น
              เร็วขึ้นและผิดพลาดลดน้อยลงมาก  เหมือนกับพลังงานมาเป็นก้อน ๆ โดยมัก  ควอนตัมก็แยกออกมาเป็นสาขาจ�าเพาะ
                 แต่ “ควอนตัม” คืออะไรกันแน่  จะให้เครดิตกันว่า แฮร์มันน์ ฟ็อน เฮ็ล์ม-   เรียกว่าควอนตัมฟิสิกส์ (quantum
                 “ควอนตัม” หมายถึงสิ่งที่มีลักษณะที่  โฮลทซ์ (Hermann von Helmholtz)    physics) และกลศาสตร์ควอนตัม
              อาจวัดเป็น “ก้อน” เช่นก้อนอนุภาคแสง  นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน น่าจะเป็นคนแรก   (quantum mechanics) ซึ่งเป็นสาขาที่มี
              ที่ชื่อว่าโฟตอน (photon)  เรื่องมันแปลก   ที่น�าค�านี้มาใช้จนแพร่หลาย ต่อมานัก  ไอเดียพิลึกกึกกืออยู่มาก อย่างเช่นที่
              ตั้งแต่ตรงนี้ คือปรกติแสงที่เราเห็น   ฟิสิกส์อีกคนที่ช่วยให้ค�าว่า “ควอนตัม”   เกริ่นข้างต้นคือแสงเป็นได้ทั้งก้อนแสง
              แต่ไหนแต่ไรมาก็มีลักษณะเป็น “คลื่น”    และ “ควอนตา” ได้รับความนิยมขึ้นก็คือ    และคลื่นแสง ขึ้นอยู่กับว่าจะน�าอุปกรณ์
              แบบหนึ่งในหมู่มวลคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  มักซ์ พลังค์ (Max Planck) คนนี้ดังมาก    อะไรไปวัด
              ทั้งหลาย ไม่ว่าจะเอกซเรย์ อัลตราไวโอเลต    เป็นนักวิทยาศาสตร์ฮีโร่ของชาติ ขนาดที่  นักฟิสิกส์บางคนอธิบายว่าที่จริงมัน
              (ยูวี) อินฟราเรด ไมโครเวฟ ฯลฯ  น�าชื่อไปตั้งเป็นชื่อสถาบันวิจัยและชื่อค่า  ไม่ได้เป็นทั้งก้อนอนุภาคและระลอกคลื่น
                 เวลาบอกว่าเป็น “คลื่น” ก็ดูจาก  คงตัวส�าคัญชนิดหนึ่งในทางฟิสิกส์ คือ    ด้วยซ�้า แต่มีสมบัติแบบที่ ๓ คือ มีบาง
              ความถี่และความยาวคลื่นเฉพาะตัว มัน  ค่าคงตัวของพลังค์ (Planck’s constant)    อย่างเป็นแบบอนุภาค (ตรวจนับได้และมี
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31