Page 30 - SKD-V0402.indd
P. 30
ASEAN Youth
เรื่องและภาพ สุเจน กรรพฤทธิ์
“กู้ภัยไทย-ลาว”
เรื่องเล่าจากภาคสนาม
ภูริตา ธัญสหพร *
ตั้งแต่จ�าความได้พ่อท�างาน การแพทย์ฉุกเฉินใน สปป. ลาว กรณีศึกษา ประเมินอาการผู้ป่วยไม่ถูกหลัก อุปกรณ์
เป็นอาสาสมัครกู้ภัยกับมูลนิธิ สมาคมอาสากู้ภัยนครหลวงเวียงจันทน์’ ไม่เพียงพอและเก่าจนเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ป่อเต็กตึ๊งช่วงสุดสัปดาห์บางทีก็หายจาก ท�าให้ได้ไปลงพื้นที่กับ ‘สมาคมอาสากู้ภัย โครงสร้างพื้นฐานอย่างโรงพยาบาลใน
บ้านไปนาน เห็นอีกทีปรากฏตัวในข่าวทีวี นครหลวงเวียงจันทน์’ จนเห็นภาพรวม ลาวก็ยังต้องการการพัฒนาอีกมาก คน
ที่ผู้สื่อข่าวรายงานเหตุการณ์ภัยพิบัติใหญ่ ๆ ของระบบกู้ภัยของ สปป. ลาว ก่อน ค.ศ. ลาวเองก็ยังไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของ
อย่างไฟไหม้ โรงงานถล่ม ที่โรงเรียนถ้า ๒๐๑๐ ใน สปป. ลาว ยังไม่มีระบบกู้ภัย หน่วยกู้ภัยมากนัก คือมีอะไรก็มักจะเรียก
มีสอนปฐมพยาบาลหรือดับเพลิงครูจะ ที่ชัดเจน หลังจากนั้นถึงมีความพยายาม รถพยาบาลเอาไว้ก่อน
28
ขอให้พ่อเอาเจ้าหน้าที่มูลนิธิฯ ไปช่วย จากเอกชนและภาครัฐ ปัจจุบันลาวมี “หลังส่งสารนิพนธ์ ผลที่ตามมา
สาธิต ตอน ม. ๑ พ่อบังคับให้ไปอบรม องค์กรที่ท�างานกู้ภัยทั้งหมดแปดองค์กร คือเกิดความร่วมมือระหว่างสมาคมฯ
งานกู้ภัยตอนนั้นไม่เข้าใจว่าท�าไม แต่ช่วง และพื้นที่ท�างานยังครอบคลุมทุกแขวง สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินของไทย และ
อบรมพอดีมีสถานการณ์ ได้นั่งรถไปกับ (จังหวัด) ปัญหาของแขวงที่มีองค์กร มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ป่อเต็กตึ๊งได้น�าอุปกรณ์
หน่วยกู้ภัยจึงเข้าใจว่าสิ่งที่ท�าอยู่มีความ เหล่านี้คือไม่มีการแบ่งพื้นที่การท�างาน ทางการแพทย์ที่จ�าเป็นไปบริจาค จัด
ส�าคัญ กิจกรรมอาสากู้ภัยเลยกลายเป็น อย่างชัดเจน ยึดหลักว่าใครถึงก่อน อบรมการปฐมพยาบาลและทักษะการ
กิจกรรมส�าหรับครอบครัวเราไป ช่วยก่อนบางครั้งจึงมีปัญหากันหน้างาน กู้ภัยให้กับอาสาสมัครของลาว ตอน
“คนทั่วไปมักเข้าใจผิดว่าเจ้าหน้าที่ บางทีคนเห็นอุบัติเหตุห้าคน โทรศัพท์ อบรมเราพบว่าอาสาสมัครลาวส่วนมาก
ป่อเต็กตึ๊งจะปรากฏตัวหากมีคนเสียชีวิต แจ้งห้าหน่วยงานก็มากันหมด ถึงแม้มี เป็นคนวัยหนุ่มสาวคือตั้งแต่อายุ ๑๕ ปี
แต่จริง ๆ เรามีคนท�างานสองด้านในกรณี เครือข่ายวิทยุกลาง แต่ก็ไม่มีการประสาน จนถึงระดับมหาวิทยาลัย พวกเขาเคยเห็น
มีผู้เสียชีวิต เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบส่วนนี้ งานจริงจัง องค์กรที่เราไปดูงานเป็น คนอื่นหรือคนใกล้ชิดประสบอุบัติเหตุ
เป็นเจ้าหน้าที่ประจ�า รู้กฎหมาย ประสาน สมาคมเดียวที่รัฐบาลลาวยอมให้ลง ก็อยากให้ระบบกู้ภัยในลาวดีขึ้น บางคน
กับเจ้าหน้าที่ต�ารวจ อีกส่วนคือเจ้าหน้าที่ ทะเบียนอย่างถูกกฎหมาย แต่ก็ควบคุม พ่อแม่พามาสมัครด้วยซ�้าเพราะเชื่อว่า
อาสาสมัคร ช่วยงานกู้ภัยและปฐมพยาบาล อย่างใกล้ชิด ต้องส่งบัญชีรายรับ-รายจ่าย การช่วยเหลือคนอื่นจะได้บุญมาก เวลา
เบื้องต้น รวมถึงจับสัตว์เลื้อยคลานตาม ให้แก่รัฐบาลทุกปี บุคลากรโดยเฉพาะ เราไปอบรมเขาตั้งใจมาก ภาษาแทบไม่
บ้าน ท�างานตรงนี้ไม่กลัวเพราะพ่อบอก อาสาสมัครแม้ว่าจะท�างานกันเต็มที่ก็ยัง เป็นอุปสรรคเพราะทุกคนเข้าใจภาษาไทย
เสมอว่าคนเป็นน่ากลัวกว่าคนตายมาก ขาดทักษะการปฐมพยาบาลที่ถูกต้อง ได้ดี สิ่งที่ได้เรียนรู้จากเขาคือเรื่องของ
“ตอนเรียนปริญญาตรีที่ธรรมศาสตร์ ครั้งหนึ่งเราเห็นว่าเขายังสับสนในการใช้ ความตั้งใจที่เขามีสูงมาก
ท�าสารนิพนธ์จบการศึกษาเรื่อง ‘ระบบ อุปกรณ์การแพทย์ประเภทต่าง ๆ ยัง “ปัญหาของ สปป. ลาว คือระเบียบ
* บัณฑิตโครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์