Page 27 - SKD-V0402.indd
P. 27
https://www.tomshardware.co.uk/ibm-17-qubit-quantum-computer,news-55638.html
25
คอมพิวเตอร์ยุคหน้าจะใช้สภาวะควอนตัมช่วยค�านวณ ท�าให้ท�างานเร็วขึ้นและผิดพลาดน้อยลง
ต�าแหน่งที่พอจะระบุได้ด้วยความแม่นย�า วิทยาศาสตร์สามารถสร้างนาฬิกาเที่ยง ตั้งอกตั้งใจจะตรวจจับ มันก็จะเลิกท�าตัว
ระดับหนึ่ง) และยังมีบางอย่างเป็นแบบ ตรงที่สุดระดับคลาดเคลื่อนแค่ ๑ วินาที เป็นคลื่นแทรกสอดกันให้เห็น !!!
คลื่นพร้อม ๆ กัน ในช่วงเวลา ๓๐ ล้านปี อาจมีคนสงสัยว่าแล้วรู้ได้อย่างไรว่า
นักฟิสิกส์บางคนว่าถ้าจะให้ถูกต้อง สมบัติแบบควอนตัมอีกอย่างที่ มันท�าตัวแบบนี้จริง ๆ เรื่องนี้มีวิธีวัดแต่
จริง ๆ ต้องบอกว่าไม่ใช่อนุภาคหรือคลื่น ประหลาดมาก ๆ (อันที่จริงก็ประหลาด สลับซับซ้อนซ่อนเงื่อนน่าดู ที่น่าตื่นเต้น
แต่เป็น “สภาวะที่สนามควอนตัมถูก ทุกสมบัติ) เรียกว่าซูเปอร์โพซิชัน (super- มากขึ้นไปอีกก็คือมีผลการศึกษาเบื้องต้น
กระตุ้น (excitation of a quantum field)” position) ที่แสดงว่ามันอาจอวตารได้ถึงสามร่าง
ตอนที่พบฮิกส์โบซอน (Higgs boson) ในชีวิตประจ�าวัน ถ้าเราขว้างลูกบอล พร้อม ๆ กัน หรืออาจมากกว่านั้น
ก็มีบางคนอยากให้เรียกว่าสนามฮิกส์ เข้าช่องแคบ ๆ ช่องหนึ่งในจ�านวนสอง โว้ว สมกับที่นักวิทยาศาสตร์ชื่อดัง
(Higgs field) มากกว่า เพราะทุกอย่าง ช่องที่อยู่ติดกัน ถ้าปาแม่นมันก็จะผ่าน อีกท่านหนึ่งคือ นีลส์ บอร์ (Niels Bohr)
ในเอกภพเป็นส่วนหนึ่งของสนามแรง เข้าไปในช่องนั้นช่องเดียวอย่างไม่ต้อง เคยกล่าวไว้ว่า
แค่นี้ก่อนดีกว่า เราเขียน-อ่านกันแค่ สงสัยใด ๆ แต่เมื่อนักฟิสิกส์ทดลองยิง
ระดับฟิสิกส์ ๑๐๑ ก็พอ โฟตอนหรือก้อนแสงเข้าไปในช่องแคบ ๆ “หากกลศาสตร์ควอนตัมไม่ท�าคุณ
ถึงตรงนี้อาจมองไม่ค่อยเห็นว่าความรู้ ผลกลับเป็นว่ามันท�าตัวคล้ายเป็นคลื่น ตกตะลึงอย่างหนัก ก็ถือว่าคุณยังไม่ได้
แบบนี้จะมีประโยชน์อะไร ขอยกตัวอย่าง และลอดผ่านทั้งสองช่อง สิ่งพิลึกที่สุด เข้าใจเรื่องนี้จริงๆ”
ค�าว่า “นาฬิกาอะตอม (atomic clock)” คือคลื่นทั้งสองยังแทรกสอด (interfere)
ความเข้าใจเรื่องสภาวะควอนตัมของ หรือกวนกันได้ด้วย ราวกับ “แยกร่าง”
อะตอมซีเซียม (cesium) ที่เป็นหัวใจหลัก อวตารเป็นสองคลื่นได้ !
ของนาฬิกาอะตอมนี่แหละที่ท�าให้นัก แต่หากตั้งอุปกรณ์วัดคลื่นไว้เพราะ
สิงหาคม ๒๕๖๑