Page 54 - SKD-V0402.indd
P. 54

สายพันธุ์มาให้แคระแล้ว อย่างต้นแก้วย่อเป็น “แก้วแคระ”
                  เพื่อชมความงามในแบบบอนไซก่อนจึงมีผู้น�ามาย่อส่วน
                  อีกทีเป็น “แก้วแคระจิ๋ว” หรือต้นโมกก็ย่อส่วนเป็น “โมกหนู”
                  เช่นเดียวกับต้นเฟื่องฟ้าที่มีผู้น�ามาลดขนาดดอก-ใบจนได้
                  “สาวิตรี”                                   “รากเกาะหิน” คือการมองเห็นความงาม
                     เมื่อท�าให้ต้นไม้กลายพันธุ์ส�าเร็จก็ต้องน�าไปขยายพันธุ์  ของพรรณไม้ป่าที่มีความเป็นอยู่พิเศษ
                  ต่อให้คงที่ ทั้งหมดต้องใช้ระยะเวลายาวนานกว่าความสูง    แล้วช่วยน�ารากของพรรณไม้นั้นมารัดก้อนหิน
                  ล�าต้น ใบ จะลดขนาดจนเล็กและเติบโตอย่างช้า ๆ โดยที่ยัง  ให้ดูสวยเลียนแบบธรรมชาติ
                                                              วิธีนี้ใช้ไม่ได้กับต้นไม้ทุกชนิด
                  ผลิดอกออกผลอย่างสมบูรณ์                     เหมาะเฉพาะกับต้นที่มีรากยาวและแข็งแรง
                     อย่างเจ้าต้น “กล้วยหอมแคระ” ที่อยู่ตรงหน้าก็เกิดจาก
                  การน�าเนื้อเยื่อกล้วยหอมพันธุ์แกรนด์เนน (Grand Naine)
                  ไปเพาะในขวดจนแตกหน่อขยายจ�านวนเป็นหลายร้อยต้น
                  จึงน�าต้นที่ได้แยกปลูกในภาชนะจ�ากัดให้ต้นสูงเต็มที่ไม่เกิน
                  ๑ เมตร แต่นั่นก็ยังใหญ่เกินไปส�าหรับนักเพาะเลี้ยงต้นไม้จิ๋ว
                     “การมองหาต้นไม้ชนิดใดมาย่อ เราจะพิจารณาว่า
                  โครงสร้างของต้นนั้นเป็นอย่างไร ใบสวยไหม มีดอกหรือ
                  เปล่า ย่อแล้วยังคงฟอร์มเดิมไหม ซึ่งกล้วยหอมพันธุ์นี้
                  ผ่านการท�าให้แคระมาแล้วจึงคิดว่าน่าจะท�าให้จิ๋วได้ด้วย
                  การย่อต้นไม้พันธุ์ที่คนทั่วไปคุ้นเคยให้แปลกตาออกไปเป็น
                  เรื่องสนุก บางคนอาจไม่มีต้นทุนจะซื้อต้นไม้สายพันธุ์แพง ๆ
   52
                  มาเลี้ยง แต่ถ้าเขารู้หลักการก็สามารถหาความสุขได้จาก
                  ต้นไม้รอบตัว”
                     รัตมา เกล้านพรัตน์ นักเพาะขยายพันธุ์ต้นไม้สายย่อ
                  ภายใต้ชื่อการค้า “miNATURE_c” จึงลองน�าต้นกล้วยหอม
                  แคระมาย่อส่วนลงอีก โดยคัดหน่อเล็ก ๆ มาแยกเลี้ยงใน
                  กระถางจิ๋ว ท�าให้ได้ต้นกล้วยหอมแคระที่สุดแสนจะแคระ
                  ไปอีก แต่มองอย่างไรก็ไม่ผิดจากต้นกล้วยขนาดสูงท่วมหัว
                  ไม่ว่าจะเป็นกาบล�าต้นด้านนอกสีเขียวอมเหลืองแซมประด�า
                  เล็กน้อย ด้านในสีเขียวอ่อนมีลายเส้นสีชมพู หรือมองใบตอง
                  ที่ก้านใบมีร่องกว้างและมีปีกก็แทบไม่ต่างจากพวกต้นใหญ่
                  ที่สูงเท่าบ้านสองชั้นจนแผ่ใบยาว ๓ เมตร
                     เพียงแต่ต้น “กล้วยหอมจิ๋ว” ที่อยู่ในกระถางเซรามิกนี้
                  มีความสูงแค่หนึ่งคืบมือผู้ใหญ่
                     เมื่อไม่ต้องการให้สูงกว่านี้ก็เพียงเฝ้าลุ้นพัฒนาการ
                  วันหนึ่งหยวกกลางปลายยอดของเจ้าไม้ล้มลุกจะออกปลี
                  สีแดงอมม่วงอวดผู้ปลูก หรืออาจติดผลเป็นเครือจิ๋วให้ชื่นใจ
                  กินไม่ได้แต่เท่
                     “ต้นไม้จิ๋วต้องดูแลประณีตกว่าขนาดปรกติ แลกมาด้วย
                  ความเพียรไม่แพ้ต้นใหญ่ ทุกมิลลิเมตรคือการใส่ใจอย่าง
                  พิถีพิถัน บางต้นเราอดทนรอถึง ๓ เดือน กว่าจะยืนยันได้ว่า
                  รอดหรือไม่”
                     และการดูแลไม่ใช่แค่รดน�้า พรวนดิน ใส่ปุ๋ย แต่ละวัน
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59