Page 66 - Skd 381-2559-11
P. 66
Gaia บัญชา ธนบุญสมบัต ิ buncha2509@gmail.com www.facebook.com/buncha2509
กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดท์ เ่ี กดิ จากฝมี อื มนษุ ยร์ าวรอ้ ยละ ๓๐-๔๐
ถกู ดดู ซบั อยใู่ นมหาสมทุ รและแหลง่ นำ�้ อนื่ ๆ เชน่ แมน่ ำ้� ทะเลสาบ อกี ราวรอ้ ยละ ๒๐
ถกู ดดู ซบั โดยพชื บนแผน่ ดนิ และสว่ นทเ่ี หลอื คงอยใู่ นบรรยากาศทำ� ใหโ้ ลกรอ้ นขนึ้
คู่แฝดตัวร้ายของโลกร้อน
ตอนท่ี ๑
https://www.pinterest.com/pin/294282156872279280/
แผนภาพแสดงการเกดิ สภาวะทะเลเปน็ กรดมากข้ึน
คาร์บอนไดออกไซด์ท่ีถูกดูดซับในมหาสมุทรนี่เองที่ก�ำลังก่อ ลองมาดูว่าเกิดอะไรขึ้นกับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในทะเล
ประเดน็ ใหญร่ ะดบั โลกไมแ่ พเ้ รอ่ื ง “โลกรอ้ น” นนั่ คอื สภาวะทม่ี หาสมทุ ร คาร์บอนไดออกไซด์ส่วนหนึ่งจะละลายอยู่ในน�้ำ ส่วนท่ีเหลือจะท�ำ
เป็นกรดมากข้นึ เรียกวา่ ocean acidification ย่อว่า OA ปฏิกิริยากับน�้ำ เกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมียอ่ ยหลายข้นั ดังนี้
ประเด็นน้ีฝร่ังเรียกว่าเป็น global warming’s evil twin หรือ CO2 + H2O = H2CO2 = HCO3- + H+ = CO32- + 2H
“คู่แฝดตวั ร้ายของโลกรอ้ น” เลยทีเดียว
จะเห็นว่ามีไอออนและสารที่เก่ียวข้องหลายอย่าง ได้แก่
ค�ำว่า ocean acidification ผมขอเรียกง่าย ๆ ว่า “ทะเลเป็น ไฮโดรเจนไอออน (H+) ไบคาร์บอเนตไอออน (HCO3- ) คาร์บอเนต
กรดมากขึ้น” (แม้ค�ำว่า ocean จะแปลว่า มหาสมุทร ก็ตาม) แต่จะ ไอออน (CO32-) และกรดคาร์บอนิก (H2CO3) สารแต่ละอย่างส่งผล
ไมเ่ รยี กวา่ “ทะเลเปน็ กรด” หรอื “ทะเลกรด” เนอ่ื งจากอาจท�ำใหเ้ ขา้ ใจ กระทบ ดังน้ี
ผิดได้ ท้ังน้ีก็เพราะว่าน้�ำทะเลมีสภาพเป็นด่าง แต่เม่ือน�้ำทะเลดูดซับ
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เข้าไปจึงท�ำให้ค่า pH (ค่าความเป็นกรด- คารบ์ อนไดออกไซดท์ ลี่ ะลายอยู่ในนำ้� อาจสง่ ผลดตี อ่ สาหรา่ ย
ดา่ ง) ลดลง กลา่ วคอื น�้ำทะเลยงั คงเปน็ ดา่ ง แตม่ คี วามเปน็ ดา่ งลดลง และหญา้ ทะเล เพราะตา่ งตอ้ งการคารบ์ อนไดออกไซดเ์ ชน่ เดยี วกบั พชื
อย่างไรกด็ ีไม่นิยมพดู เช่นนี้ แตจ่ ะพูดวา่ น�ำ้ ทะเลเป็นกรดมากข้นึ แทน บนบก มีหลักฐานบ่งชี้ว่าสิ่งมีชีวิตทั้งสองอย่างเติบโตดีในบริเวณ
ชายฝง่ั ใกลป้ ลอ่ งภเู ขาไฟซงึ่ ปลดปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดป์ รมิ าณ
สมมติว่าเราไปเที่ยวยอดดอยทางภาคเหนือ เมื่อวานอุณหภูมิ มาก อย่างไรก็ดีหากมองระยะยาวแล้ว สภาพทะเลเป็นกรดมากขึ้น
เฉลี่ย ๑๐ องศาเซลเซียส แต่วันนี้อุณหภูมิเฉลี่ยเพ่ิมเป็น ๑๕ องศา จะสง่ ผลกระทบโดยรวมตอ่ ระบบนเิ วศชายฝั่งในเชิงลบมากกว่า
เซลเซยี ส เราอาจพดู วา่ วนั น ี้ “อนุ่ ขนึ้ ” แมว้ า่ ทจี่ รงิ แลว้ ทง้ั ๑๐ และ ๑๕
องศาเซลเซยี สนี่หนาวเยน็ ทัง้ คู่ ปรมิ าณไฮโดรเจนไอออนทเ่ี พม่ิ ขน้ึ ทำ� ให้น�ำ้ ทะเลมสี ภาพเป็น
กรดมากข้ึน จุดน้ีคือที่มาของชื่อ ocean acidification กล่าวคือ เมื่อ
คำ� วา่ acidification ในทางวทิ ยาศาสตรห์ มายถงึ วา่ คา่ pH มี ปริมาณไฮโดรเจนไอออนเพิ่มข้นึ คา่ pH จะลดลง
คา่ ลดลงจากจดุ ตงั้ ตน้ ใด ๆ ไปยงั จดุ สดุ ทา้ ย ค�ำนยี้ งั ใชใ้ นวทิ ยาศาสตร์
สาขาอื่นด้วย เช่น การแพทย ์ วทิ ยาศาสตร์อาหาร
64 พฤศจิกายน ๒๕๕๙