Page 69 - Skd 381-2559-11
P. 69
๔ ๕๖
๓ ศ. ดร. โซเฟียน คาโมอัน (Sophien Kamoun) และทีมวิจัย
ของเขาจากหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเซนสบ์ รู ี (Sainsbury Laboratory) ในเมอื ง
Berkeley) และสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts นอริช (Norwich) ประเทศสหราชอาณาจักร ได้พัฒนาสายพันธุ์พืช
Institute of Technology) ไดแ้ ขง่ ขนั กนั พฒั นาเทคนคิ ทางพนั ธวุ ศิ วกรรม เศรษฐกจิ ปรบั แตง่ จโี นมใหต้ อ่ ตา้ นเชอื้ ราโรคพชื เชน่ มนั ฝรงั่ และมะเขอื
แบบใหมท่ เ่ี รยี กวา่ “การปรบั แตง่ จโี นม” (genome editing technology) เทศทนราเปน็ ผลสำ� เร็จ
ท่ีสามารถปรับแต่งพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิตได้อย่างง่ายดายและแม่นยำ�
อีกท้ังยังไม่มีดีเอ็นเอแปลกปลอมปะปน ซึ่งช่วยแก้ปัญหาน่าวิตก “เช้ือโรคไม่ได้นั่งรอเรา พวกมันเปลี่ยนแปลงและวิวัฒน์อยู่
เกยี่ วกบั จีเอม็ โอ ตลอดเวลา การแกไ้ ขยนี โดยใช ้ CRISPR/Cas9 อาจเปน็ ตวั ชว่ ยส�ำคญั
ทที่ ำ� ใหน้ กั วทิ ยาศาสตรต์ อ่ กรกบั จลุ นิ ทรยี ก์ อ่ โรคพชื ทวี่ วิ ฒั นต์ ลอดเวลา
เทคนิคการปรับแต่งจีโนมท่ีนิยมท่ีสุดในปัจจุบันพัฒนาข้ึนจาก ได้” คาโมอันเชื่อว่าเราต้องเริ่มท�ำอะไรสักอย่างก่อนวิกฤตอาหารจะ
ระบบภูมิคุ้มกันของแบคทีเรียเรียกว่า CRISPR/Cas9 ซ่ึงแบคทีเรีย มาถงึ
ใชป้ รบั แตง่ จโี นมของมนั เองเพอื่ ก�ำจดั ไวรสั เฟจ (phage) ทรี่ กุ รานออก
ไปจากสารพนั ธุกรรมของมัน ทว่าเทคนิค CRISPR/Cas9 น้ันนอกจากใช้แก้ไขจีโนมแล้วยัง
สามารถใสย่ นี จากสง่ิ มชี วี ติ อน่ื ไดเ้ ชน่ เดยี วกบั เทคนคิ ทางพนั ธวุ ศิ วกรรม
เมื่อค้นพบเฟจ แบคทีเรียจะใช้ชิ้นส่วนจีโนมของเฟจมาสร้าง อ่ืน ๆ แต่ตรวจจับไม่ได้ด้วยเทคโนโลยีตรวจจับมาตรฐานท่ีใช้กันใน
สายอาร์เอ็นเอต้นแบบเรียกว่า CRISPR RNA ต่อมาเอนไซม์ Cas9 ปัจจุบันเพราะไม่มีดีเอ็นเอแปลกปลอมเป็นร่องรอยของการตัดต่อ
จะอ่านล�ำดับเบสของสายอาร์เอ็นเอต้นแบบแล้วตัดสายดีเอ็นเอท่ีมี พนั ธกุ รรมใหต้ รวจพบ ดงั นน้ั มาตรการควบคมุ จเี อม็ โอทมี่ อี ยจู่ งึ ไมอ่ าจ
ล�ำดับตรงกับตน้ แบบ (เฟจ) ออกไป ใชก้ ับสง่ิ มีชีวติ ท่ใี ช ้ CRISPR/Cas9
การปรบั แตง่ จโี นมดว้ ยเทคนคิ CRISPR/Cas9 นน้ั คอ่ นขา้ งงา่ ย ค�ำถามท่ีเป็นประเด็นถกเถียงในหลายประเทศ เช่น สหรัฐ-
และใหผ้ ลตรงใจ เพราะสามารถกำ� หนดจดุ แกไ้ ขในจโี นมโดยออกแบบ อเมริกา สหภาพยุโรป หรือแม้แต่ประเทศจีน คือ “แล้วกฎหมายแบบ
สายอาร์เอ็นเอสังเคราะห์สายส้ัน ๆ ที่มีล�ำดับพันธุกรรมพ้องกับล�ำดับ ใดกันเล่าจึงเหมาะสมและรัดกุมพอจะน�ำมาใช้ควบคุมพืชปรับแต่ง
ดเี อน็ เอของยนี ทส่ี นใจ แลว้ เอนไซม ์ Cas9 จะอา่ นและเขา้ ไปตดั อยา่ ง จีโนม ?”
ตรงจุด เทคโนโลยีนี้จึงได้รับความสนใจอย่างมากและประยุกต์ใช้
อยา่ งแพรห่ ลายทง้ั ในวงการแพทย ์ การรกั ษาดว้ ยยนี (gene therapy) แน่นอนครับในเวลานี้คงบอกยาก ถึงเวลาที่นักวิทยาศาสตร์
การสรา้ งสัตวท์ ดลองใหม่ ๆ ทเี่ ทคนิคพนั ธุวิศวกรรมดงั้ เดมิ ทำ� ไมไ่ ด้ และนกั กฎหมายตอ้ งมานง่ั คยุ กนั อยา่ งซเี รยี สเรอื่ งการควบคมุ เทคโนโลยี
เหล่านี้ เพราะเทคโนโลยีที่มีคุณอนันต์ก็อาจมีโทษมหันต์ซ่อนอยู่ และ
แนน่ อนทส่ี ดุ เมลด็ พนั ธใ์ุ นเซฟเฮาสท์ ส่ี ฟาลบารจ์ งึ เปรยี บเสมอื น ต้องตอบให้เร็ว เพราะขณะน้ีห้องปฏิบัติการหลายแห่งทั่วโลกทั้งใน
ขุมสมบัติความหลากหลายทางพันธุกรรม ต้นแบบพันธุ์พืชช้ันดีท่ี องค์กรเอกชน บริษัท สตาร์ตอัป สถาบันวิจัย หรือแม้แต่นักผสมพันธุ์
ให้ผลผลิตสูง ทนแล้ง ทนโรค บรรดานักวิทยาศาสตร์ เกษตรกร และ พืชท่ัวไป เริ่มต่ืนตัวและสนใจประยุกต์ใช้ CRISPR/Cas9 แล้ว เช่น
นกั พฒั นาพนั ธพ์ุ ชื สามารถเขา้ ไปเลอื กสรรยนี ทตี่ อ้ งการมาเปน็ ตน้ แบบ ข้าวท่ีให้ผลผลิตปริมาณมากจากห้องทดลองในประเทศจีน การสร้าง
ซ่ึงคุณลักษณะที่ต่างกันของพืชบางชนิดอาจเกิดจากความแตกต่าง พันธุ์ข้าวบาร์เลย์ปรับแต่งยีนให้งอกง่ายจากห้องปฏบิ ัติการในสหราช-
เพียงเล็กน้อยในยีน (เพียงไม่กี่เบสในสายดีเอ็นเอ) และด้วยความ อาณาจกั ร และเมอ่ื ปลายปที ผี่ า่ นมาบรษิ ทั เกษตรยกั ษใ์ หญอ่ ยา่ งดปู องท์
แม่นย�ำของเทคนิค CRISPR/Cas9 นักวิทยาศาสตร์จึงปรับเปล่ียน (DuPont) ไดร้ ว่ มมอื กบั สตารต์ อปั ไฟแรงทโ่ี ดดเดน่ สดุ ๆ ทางเทคโนโลยี
เพียงแค่ส่วนเล็ก ๆ ของยีนให้เป็นไปตามความต้องการ หากมองใน CRISPR/Cas9 คือคาริบูไบโอไซเอนซ์ (Caribou biosciences) เพ่ือ
มุมน้ี ต้นพันธุ์ท่ีได้จาก CRISPR/Cas9 จะไม่แตกต่างจากต้นพันธุ์ที่ ปรับปรุงพันธุ์พืชเศรษฐกิจอย่างข้าวโพด ข้าว และถั่วเหลือง ให้มี
ไดจ้ ากการคดั เลอื กผสมพันธุ์ทใ่ี ชก้ ันแพร่หลายแตอ่ ยา่ งใด คณุ สมบตั โิ ดดเดน่ จนอาจแกป้ ญั หาวกิ ฤตอาหารโลกได ้ คาดวา่ จะเหน็
ผลไมเ่ กนิ ๕ ป ี เมลด็ พนั ธพ์ุ ชื ปรบั แตง่ จโี นมคงเรมิ่ ทยอยเขา้ สทู่ อ้ งตลาด
การเกษตรอยา่ งแน่นอน
และนี่อาจเป็นอีกหน่ึงความหวังท่จี ะช่วยให้มนุษยชาติพ้นจาก
โศกนาฏกรรมขาดแคลนอาหารอยา่ งทศี่ าสตราจารยฟ์ าวเลอรท์ ำ� นายไว้
ใครจะรู้ล่ะครับ ถ้าน�ำมาใช้อย่างถูกต้อง เทคโนโลยีการปรับ
แต่งจีโนมอาจช่วยสร้างพืชสายพันธุ์ใหม่ ๆ ท่ีอาจปฏิรูปวงการเกษตร
ของโลกและสามารถผลติ อาหารมากเพยี งพอทีจ่ ะหลีกพ้นภาวะวิกฤต
อาหารขาดแคลนในอนาคต และในตอนนน้ั ภาพทเ่ี ราอาจเหน็ ทางทวี ี
คือ “เดก็ น้อยอวบอว้ น อ่มิ หนำ� สำ� ราญ” กเ็ ปน็ ได้
พฤศจิกายน ๒๕๕๙ 67