Page 64 - Skd 381-2559-11
P. 64
ศพั ท์ซอยวิทย ์ ดร. นำ� ชัย ชวี ววิ รรธน ์ namchai4sci@gmail.com
ชว่ งนเ้ี ขา้ ใจวา่ นา่ จะคนุ้ หกู บั คำ� วา่ ประเทศไทย ๔.๐ หรอื http://creativityage.wikispaces.com/file/view/ThirdWave.JPG
Thailand 4.0 กนั บา้ ง แตค่ วามหมายทแี่ ทจ้ รงิ คอื อะไร
เราจะมาดกู นั ครบั แตก่ อ่ นจะตรงเขา้ ไปท ่ี “ประเทศไทย ๔.๐”
ลองมาดคู ำ� ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกนั ทางออ้ ม
แตเ่ ปน็ แนวคดิ คลา้ ยกนั ทมี่ มี ากอ่ น
และคนไทยกค็ นุ้ เคยดเี ชน่ กนั คอื “คลนื่ ลกู ท ี่ ๓”
ยงั จำ� คำ� นก้ี นั ไดใ้ ชไ่ หมครบั
หนงั สือ
ประเทศไทย ๔.๐“คลืน่ลกูที่สาม”
ของ อลั วิน ทอฟฟ์เลอร์
ท�ำ ไมตอ้ งอศั วนิ คลืน่ ลกู ท่ ี ๓ ประเทศไทยเวอร์ชันล่าสดุ
อลั วนิ ทอฟฟเ์ ลอร ์ (Alvin Toffler) เปน็ นกั อนาคตวทิ ยา (futurist) ผู้ท�ำให้ค�ำว่า “ประเทศไทย ๔.๐” แพร่หลายคือ ดร. สุวิทย ์
คนสำ� คญั ของโลก เขาออกหนงั สอื เลม่ ใหมม่ าคราใดกเ็ ปน็ ทก่ี ลา่ วขวญั เมษินทรีย์ ซ่ึงขณะนี้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
กนั ไปทกุ ครงั้ หนงั สอื เลม่ แรกของเขาคอื Future Shock (ค.ศ. ๑๙๗๐) พาณชิ ย ์ ดว้ ยกรอบความคดิ กวา้ ง ๆ วา่ ประเทศไทยเคยผา่ นเวอรช์ นั
สร้างปรากฏการณห์ นังสือขายดถี ล่มทลายมากกวา่ ๖ ลา้ นเล่ม หลัง ๑.๐ ท่ีเน้นภาคการเกษตร ต่อมาก็เป็น ๒.๐ ที่เน้นอุตสาหกรรมเบา
จากน้ันเขาทยอยเขียนหนังสือออกมาเร่ือย ๆ ซึ่งฮือฮาทุกเล่ม รวมทั้ง แรงงานราคาถกู และการนำ� ทรพั ยากรธรรมชาตติ า่ ง ๆ มาใช ้ จนเปน็
The Third Wave ภาคตอ่ ของ Future Shock ใน ค.ศ. ๑๙๘๐ ประเทศไทย ๓.๐ ทเ่ี นน้ อตุ สาหกรรมหนกั และการสง่ ออก เชน่ รถยนต์
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส ์ อปุ กรณต์ า่ ง ๆ โดยใชต้ น้ ทนุ และเทคโนโลยตี า่ งประเทศ
หนังสือทุกเล่มของเขาแสดงถึงความส�ำคัญของเทคโนโลยีท่ี เสยี แทบทงั้ น้ัน
ส่งผลกระทบต่อทุกด้านของชีวิตมนุษย์ โดยเขาเปรียบเทียบไว้ใน
หนังสอื คลืน่ ลกู ทีส่ ามว่า คลื่นลูกแรกทเ่ี ปล่ียนแปลงโลกคือสังคมแบบ ผลคือประเทศไทยกลายมาเป็นประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง
เกษตรกรรมในยุคหินใหม่ เม่ือคนเปล่ียนจากการล่าสัตว์เก็บของป่า ยาวนานกวา่ ๒๐ ป ี แตไ่ มส่ ามารถกา้ วไปเปน็ ประเทศทม่ี รี ายไดส้ งู และ
มาเปน็ การลงมอื เลย้ี งสตั วแ์ ละปลกู พชื รวมทง้ั พฒั นาพนั ธข์ุ องพวกมนั ยงั ตดิ “กบั ดกั ประเทศรายไดป้ านกลาง” จงึ ควรใชโ้ มเดลใหมท่ เี่ รยี กวา่
ประเทศไทย ๔.๐ เปน็ ตัวขับดนั
สว่ นคลน่ื ลกู ท ี่ ๒ คอื สงั คมแบบอตุ สาหกรรมซงึ่ พงึ่ พาเครอื่ งจกั ร
ในการผลติ โดยเกดิ ขนึ้ กอ่ นในยโุ รป หากมองทรี่ ะบบครอบครวั กข็ ยบั ค�ำถามจงึ มีวา่ แล้ว “ประเทศไทย ๔.๐” คืออะไรกนั แน่
มาอยู่ในสังคมเมืองมากข้ึน ครอบครัวมีขนาดเล็กลง ส่วนระบบการ แนวคิดหลักก็คือ ต้องเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจให้เป็น
ศึกษาไม่ต่างอะไรกับโรงงานนัก ทุกส่ิงทุกอย่างล้วนผลิตหรือสร้างขึ้น “เศรษฐกิจที่ขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม” กล่าวคือเปล่ียนจากผลิต
เพ่อื รองรบั คนจำ� นวนมาก โภคภัณฑ์ต่าง ๆ ไปเป็นนวัตกรรมเพ่ิมมูลค่า เน้นภาคบริการมากกว่า
มุ่งภาคผลิตสินค้า ทั้งหมดต้องอาศัยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์
ในขณะที่คลื่นลูกที่ ๓ เป็น “สังคมในยุคหลังอุตสาหกรรม” ที่ และนวัตกรรมต่าง ๆ มาเปน็ ตัวชว่ ย
อาจนบั จดุ เรม่ิ ตน้ ราวปลายทศวรรษ ๑๙๕๐ เขาประดษิ ฐค์ ำ� ทป่ี จั จบุ นั แล้วเราจะใชอ้ ะไรเป็น “เคร่อื งมือ” บรรลเุ ป้าหมายเหลา่ นัน้
กลายมาเป็นศัพท์สามัญคือ “ยุคข้อมูลข่าวสาร” (Information Age) ในแนวคิดประเทศไทย ๔.๐ ต้องพัฒนา “เครื่องยนต์เพ่ือ
จนมีผู้น�ำมากล่าวขยายความอย่างกว้างขวางว่า ในยุคนี้ผู้ที่มีข้อมูล ขบั เคลอ่ื นการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ชดุ ใหม”่ (New Engines of Growth)
ข่าวสารมากกว่าคือผูไ้ ดเ้ ปรียบและเป็นมหาอำ� นาจตัวจริง ! โดยเน้นความได้เปรียบด้านความหลากหลายทางชีวภาพ และทาง
วฒั นธรรมของประเทศ มแี พลตฟอรม์ (platform) ของกลมุ่ เทคโนโลยี
ดว้ ยความแพรห่ ลายของแนวคดิ “คลน่ื ลกู ท ่ี ๓” นเ้ี อง ทนี่ �ำมา และอตุ สาหกรรมเปา้ หมายทจี่ ะผลกั ใหเ้ กดิ นวิ สตารต์ อปั ส ์ (new startups)
สู่ฉายาของอดีตนายกฯ ไทย พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ว่าเป็น “อัศวิน รวมห้ากลุ่ม ได้แก่ กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ กลุ่ม
คลนื่ ลกู ท ่ี ๓” เพราะรำ่� รวยมาจากธรุ กจิ มอื ถอื ซง่ึ เกยี่ วเนอื่ งกบั ยคุ ขอ้ มลู
ข่าวสารอย่างใกล้ชิดน่ันเอง
62 พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙