Page 68 - Skd 381-2559-11
P. 68

  SCI-Innovation                               ดร. ปว๋ ย อนุ่ ใจ  (ภาควิชาชวี วิทยา คณะวิทยาศาสตร ์ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล)

“ใน ค.ศ. ๒๐๓๐ ผลผลติ ขา้ วโพดจะลดลงรอ้ ยละ ๓๐ ในขณะทปี่ ระชากรเพมิ่ สงู ขนึ้ เปน็ เทา่ ทว ี
นน่ั คอื วกิ ฤตอาหารซง่ึ จะระบาดไปทว่ั โลก  ในอกี ไมก่  ่ีปขี า้ งหนา้ นเ้ี ราอาจจะตอ้ งทนเหน็ เดก็ นอ้ ย
จโี นมอดอาหารตายในโทรทศั น”์
                                                                            แก้วกิ ฤตอาหารโลก
ปรบั แตง่                                                                                                                          (ภาพ : wikipedia)

Bjoertvedt                                                                                        ๑	 ทางเข้าธนาคารเมล็ดพนั ธส์ุ ฟาลบาร์
                                                                                                  ๒	 ภาพวาดหน้าตาของเฟจหรือไวรสั รุกรานแบคทีเรีย  
                                                                                                  ๓	 โครงสร้างของเอนไซม์ Cas9
                                                                                                  	 ที่พรอ้ มทำ� งาน โดย Nishimasu และคณะ
                                                                                                  ๔	 ศ. ดร. แครี ฟาวเลอร์ บรุ ษุ ผอู้ ยูเ่ บ้ืองหลังธนาคาร 
                                                                                                  	 เมลด็ พนั ธุส์ ฟาลบาร์
                                                                                                  ๕	 ศ. ดร. เอมมานเู อล ชาร์เพนเทยี ร ์
                                                                                                  	 (Emmanuelle Charpentier) จากมหาวทิ ยาลยั อเู มโอ 
                                                                                                  	 ประเทศสวีเดน หนึ่งในผ้คู น้ พบ CRISPR/Cas9
                                                                                                  ๖	 ศ. ดร. เจนนิเฟอร์ ดอดนา (Jennifer Doudna) 
                                                                                                  	 จากมหาวิทยาลัยแคลฟิ อรเ์ นยี เบริ ก์ ลยี ์ สหรฐั อเมรกิ า 	
                                                                                         ๑ 	 หนง่ึ ในผบู้ กุ เบกิ และพฒั นาเทคโนโลย ี CRISPR/Cas9 
                                                                                                  	 และผู้รว่ มก่อต้งั สตารต์ อัปคาริบไู บโอไซเอนซ์

            คำ� ทำ� นายของศาสตราจารย ์ ดร. แคร ี ฟาวเลอร ์ (Cary Fowler)  แม่พนั ธ์ุสำ� หรับการคัดเลือกผสมพนั ธ ุ์ (selective breeding) ไดอ้ ย่าง
            อดีตศาสตราจารย์จากมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ชีวภาพนอร์วีเจียน หลากหลายในอนาคต
            (Norwegian University of Life Sciences) ผกู้ อ่ ตง้ั ธนาคารเมลด็ พนั ธ์ุ     ทว่าการพัฒนาสายพันธุ์จากการคัดเลือกผสมพันธุ์น้ันเชื่องช้า
            สฟาลบาร์ (Svalbard Global Seed Vaught) ระหว่างการบรรยาย และควบคมุ ยาก นกั วจิ ยั จงึ พฒั นาเทคนคิ ทางพนั ธวุ ศิ วกรรมตดั ตอ่ ยนี
            TED เมอื่  ค.ศ. ๒๐๐๙ ยงั คงดังกอ้ งอยู่ในเครือขา่ ยใยพภิ พ                   จนได้เป็น  “พืชจีเอ็มโอ”  (GMOs)  ท่ีมีคุณลักษณะพิเศษตามต้องการ
            “วิกฤตอาหารขาดแคลน” อาจเกิดขึ้นเรว็ กวา่ ทีค่ ดิ                             เชน่  ฝา้ ยหรอื ขา้ วโพดทผี่ ลติ โปรตนี ฆา่ แมลงทำ� ใหท้ นทานตอ่ โรคแมลง
            องคก์ ารสหประชาชาตคิ าดวา่ ใน ค.ศ. ๒๐๖๐ จ�ำนวนประชากร ระบาด หรอื กลว้ ยทผ่ี ลติ สารยาหรอื วคั ซนี ในเนอื้ ชว่ ยใหค้ นทรี่ บั ประทาน
            โลกจะเพม่ิ ขน้ึ จนถงึ หมื่นล้านคน ขณะทผ่ี ลผลติ การเกษตรก�ำลังได้รับ กลว้ ยสรา้ งภมู ติ า้ นทานตอ่ โรครา้ ยบางชนดิ   แตป่ ญั หาคอื การดดั แปลง
            ผลกระทบอย่างรุนแรงจากสภาพภูมิอากาศที่ผันแปรอันเนื่องมาจาก ยีนในพืชนั้นมีหลายข้ันตอน บางข้ันตอนต้องใช้ยีนแปลกปลอมซึ่งมัก
            ภาวะโลกร้อน พืชบางสายพันธุ์จะค่อย ๆ สูญสิ้นไปพร้อมกับคุณ- เป็นยีนต้านยาปฏิชีวนะจากแบคทีเรีย กระบวนการน้ียุ่งยากซับซ้อน
            ลักษณะเด่นของสายพันธุ์ เช่น กล่ิน สี รส ความทนทานดินเค็ม การ และไมแ่ ม่นย�ำ ควบคุมผลสมั ฤทธิ์ได้ยาก และมกั ใชเ้ วลานานหลายป ี
            ต่อต้านแมลงศัตรูพืช เป็นต้น  น้อยคนนักจะตระหนักว่าความหลาก เร่ืองแยท่ ีส่ ดุ คือไดต้ น้ พชื จีเอ็มโอซงึ่ มยี ีนจากส่ิงมีชวี ิตอนื่ เปน็  “ดเี อน็ เอ
            หลายทางชวี ภาพทีเ่ ราก�ำลงั ค่อย ๆ สูญเสยี ไปอยา่ งเงียบเชียบ                แปลกปลอม”  (foreign  DNA)  หลงเหลืออยู่ในสารพันธุกรรม
            น้ีอาจเป็นกุญแจส�ำคัญในการปรับปรุงพันธุ์พืชให้มวล                            เสมอ เชน่ ดเี อน็ เอแปลกปลอมจากยนี ตา้ นยาปฏชิ ีวนะทใ่ี ชใ้ น
            มนุษยชาติก้าวข้ามผ่านวิกฤตอาหาร    แต่รัฐบาลนอร์เวย์ก็ได้                 ๒  ช่วงคัดเลือกต้นพันธุ์กลาย อาจถูกถ่ายทอดไปยังเชื้อจุลินทรีย์

            บริจาคภูเขาซึ่งฝังตัวอยู่ใต้หิมะในเขตอาร์กติกอันหนาวเย็นตำ่�                 กอ่ โรคในสงิ่ แวดลอ้ ม (horizontal gene transfer) ซงึ่ จะสง่ ผล
            กว่าจุดเยือกแข็งของเมืองสฟาลบาร์  (Svalbard)  บวกกับทุน                      กระทบต่อระบบนิเวศอย่างไม่อาจคาดการณไ์ ด้
            สนับสนุนก้อนโตเพื่อสร้างอุโมงค์ใต้ดินเป็นเซฟเฮาส์เก็บรักษา                   ความยุ่งยากและความเส่ียงในผลกระทบต่อสิ่ง
            เมลด็ พืชสายพนั ธ์ุแทจ้ ากท่วั โลก                                           แวดล้อมท�ำให้จีเอ็มโอถูกควบคุมด้วยกฎหมายอย่างเคร่งครัด
            ปจั จบุ นั ธนาคารเมลด็ พนั ธส์ุ ฟาลบารเ์ กบ็ รกั ษาสายพนั ธ์ุ                จนเอกชน เกษตรกร และนักพัฒนาพันธุ์พืชต่างเข็ดขยาดกับ
            พืชหลายแสนชนิดจากธนาคารเมล็ดพันธุ์มากกว่า                                    มาตรการจดั การจีเอม็ โอทรี่ ดั กุมของนานาประเทศ
            ๑,๗๕๐ แหง่ ทวั่ โลก นค่ี อื แหลง่ สำ� รองความหลากหลาย                        น่าตื่นเต้นว่าในช่วงไม่ก่ีปีมาน้ีนักวิจัยหลายกลุ่ม
            ทางชีวภาพของโลกขนาดมโหฬารจนเปรียบได้กับสวน                                   ทั้งจากมหาวิทยาลัยอูเมโอ  (Umeå  University)  มหา
            อีเดนส�ำหรับนักพัฒนาสายพันธุ์พืช  เพราะจะมีพ่อพันธุ์                         วทิ ยาลยั แคลฟิ อรเ์ นยี เบริ ก์ ลยี  ์ (University of California

66 พฤศจิกายน ๒๕๕๙
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73